User:S. Somtha/sandbox

Source: Wikipedia, the free encyclopedia.

สิงโตทะเล
Scientific classification
Kingdom:
Phylum:
Chordataa
Class:
Mammalia
Order:
Suborder:
Pinnipedia
Family:
Otariidae
Subfamily:
Otariinae

บทนำ

Pinnipeds เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยอยู่ในทะเลที่ถูกจัดอยู่ในอันดับ Carnivora มีสัตว์ 3 วงศ์ที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่เป็นญาติกันคือ Otariidae ,Odobenidae และ Phocidae สัตว์กลุ่มเหล่านี้คิดเป็น 28% ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยอยู่ในทะเลทั้งหมด ซึ่งมีทั้งหมด 34-36 ชนิด โดยมีถึง 19 ชนิดในวงศ์ Phocidae หากคิดเป็นจำนวนตัวแล้วประมาณ 90% (ประมาณ 50 ล้านตัว) อยู่ในวงศ์ Phocidae[1] [2]

File:A href="http://upic.me/show/47498480" target=" blank" img border="0" src="http://upic.me/i/4r/9ghd1.jpg" /a


จุดกำเนิดและวิวัฒนาการ

การค้นพบฟอสซิลในปัจจุบันทำให้เราทราบว่า Pinnipeds ที่มีอยู่ในปัจจุบันเป็นเพีบงหนึ่งในหลายๆกลุ่มของ Pinnipeds ที่ถือกำเนิดมาตั้งแต่ในอดีต ดังเช่น กลุ่มวอรัส (Odobenidae) ที่มีเพียงชนิด [3] เดียวในปัจจุบัน แต่หลักฐานฟอสซิลที่ปรากฏมีมากถึง 10 สกุล 13 ชนิดในอดีตที่สูญพันธุ์ไปแล้วในอดีต ซึ่งปัจจบันเชื่อว่า Pinnipeds ได้ถือกำเนิดมาตั้งแต่ปลายยุค Oligocene (ประมาณ 27-25 ล้านปีที่แล้ว)

File:Http://upic.me/show/47498494


ชีววิทยาของสิงโตทะเล

Pinnipeds มาจากภาษาละตินโดย pinna และ pedis แปลว่า “Feather-Footed” หมายถึง สัตว์กลุ่มที่มีขาหน้าและขาหลังเป็นครีบ ในที่นี้หมายถึง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยอยู่ในทะเลที่มีขาหน้าและขาหลังมีลักษณะคล้ายครีบ ได้แก่ แมวน้ำ สิงโตทะเล และวอรัส ซึ่งอาศัยอยู่ได้ทั้งในน้ำ และบนบก ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นสัตว์สังคม สัตว์กลุ่มนี้มีการตั้งท้องนานถึง 8-16 เดือน ขึ้นอยู่กับช่วงเวลาที่ไข่จะปฏิสนธิ สมาชิกทั้งหมดในกลุ่มนี้จะกินสัตว์ทะเลเช่น ปลา สัตว์มีกระดอง และหอยเป็นอาหาร ยกเว้นแมวน้ำเสือดาวที่จะกินนกเพนกวินและแมวน้ำอื่นๆเป็นอาหาร[4] นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าสัตว์กลุ่มนี้เป็น Monophylatic group กันโดยใช้ลักษณะสัณฐานวิทยา (Morphological Characters) ที่สืบทอดต่อกันมาจากบรรพบุรุษ(Synapomorhpies)[5] [6] [7]

File:Http://upic.me/show/47498498

การปรับตัวเชิงวิวัฒนาการ

การปรับตัวทางด้านโครงสร้าง

มีผิวหนังที่หนา ประกอบไปด้วยผิวหนังชั้นนอก (Epidermis) ที่มีไขมันชั้นย่อยๆ 3-5 ชั้น ผิวหนังชั้นกลาง (Dermis) ที่เป็นชั้นของรูขุมขน เซลล์ขน และต่อมเหงื่อ และ ผิวหนังชั้นใน (Hypodermis [8]

File:Http://upic.me/show/474985


การปรับตัวเพื่อให้มีสมดุล

มีการแลกเปลี่ยนถ่ายเทความร้อนของหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำ เพื่อรักษาอุณหภูมิในบริเวณครีบ (Countercurrent heat exchange ,CCHE)[9]

File:Http://upic.me/show/47498501
การปรับตัวทางด้านพฤติกรรม

พฤติกรรมการกินอาหารพวกหอยสองฝาที่ฝังตัวตามพื้น โดยการใช้ครีบเท้าหน้าพัดให้เกิดแรงพ่นน้ำเพื่อขุดหา [10] แล้วใช้ลิ้นดูดสร้างแรงดันภายในฝาขอองหอย ทำให้หอยเปิดฝาออกโดยง่าย [11]

File:Http://upic.me/show/47498503
  1. ^ Riedman, M. (1990). The Pinniped. Seal, Sea Lions and Walruses. University California Press, Berkeley, CA.
  2. ^ Rice, D. W.(1998). Marine Mammals of the World. Soc. Mar Mammal., Spec. Publ. No. 4, pp. 1-231.
  3. ^ Deméré, T. A. (1994). “The Family Odobenidae: A Phylogenetic Analysis of Fossil and Living Taxa.” Proc. San Deigo Soc. Nat. Hist. 29: 99-123.
  4. ^ http://science.howstuffworks.com/zoology/marine-life/seal-versus-sea-lion.html
  5. ^ Wyss, A. R. (1987). “The Walrus Auditory Region and Monophyly of Pinnipeds.” Amer. Mus. Novit. 2871: 1-31.
  6. ^ Wyss, A. R. (1988). “On “Retrogression” in the Evolution of the Phocinae and Phylogenetic Affinities of the Monk Seals”. Amer. Mus. Novit. 2924: 1-38.
  7. ^ Beta, A., and A. R. Wyss (1994) “Pinniped Phylogeny.” Proc. San Deigo Soc. Nat. Hist. 29: 33-56.
  8. ^ Geraci, J. R., D. J. St. Aubin, and B. D. Hicks (1986). The epidermis od Odontocetes: A view from within. In “Research on Dolphins” (M. M. Bryden and R. Harrison, eds.). pp. 3-31. Oxford Science Publ., Oxford.
  9. ^ Caldwell, D. K., and M. C. Caldwell (1985). Manatees-Trichechus manatus sengalensis, and Trichechus inuguis. In “Handbook of Marine Mammals, Vol. 3, The Sirenians and Balen Whales” (S.H. Ridgway and R.J. Harrison, eds.), pp. 33-36. Academic Press, London.
  10. ^ Levermann, N., A. Galatius, G. Ehlme, S. Rysgaard, and E. W. Born (2003). “Feeding Behavior of Free-Ranging Walruses with Notes on Apparent Dextrality of Flipper Use”. BMC Ecol. 3: 9-24.
  11. ^ Kastelein, R. A., N. M. Gerrits, and J. L. Dubbledam (1991). “The Anatomy of the Walrus Head (Odonbenus rosmarus). Part 2: Description of the Muscles and of their Role in Feding and Haul-Out Behavior.” Aquat. Mamm. 17: 156-180.